Deprecated: Methods with the same name as their class will not be constructors in a future version of PHP; plgContentGoogleCalendar has a deprecated constructor in /var/www/vhosts/accident.or.th/domains/accident.or.th/public_html/plugins/content/googlecalendar/googlecalendar.php on line 24
เขียนโดย Super User

     (วันที่ 26 ธ.ค.61) นายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ)พร้อมทีมเยาวชน เข้าพบผู้อำนวยการฝ่ายข่าว นายเกรียงไกร สิริกาญจนวัฒน์ และ คุณวรรณวิไล ยาปัน ผู้จัดการฝ่ายรายการคุยข่าว พร้อมด้วยผู้ประกาศข่าวช่อง 8 ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ชวนร่วมผลักดันมาตรการป้องกันและเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 เน้นกระตุ้นเตือนขับช้า Low Speed มีสิทธิ์รอด- ดื่มไม่ขับ-ง่วงไม่ขับ 
ทั้งนี้ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลต่อการตัดสินใจขณะขับรถ เฉพาะเวลาตัดสินใจคนปกติอยู่ที่ 2-2.5 วินาที สำหรับตัดสินใจเมื่อเห็นคนข้ามถนนไปจนถึงเท้าแตะเบรก แต่คนที่ดื่มจนมีแอลกอฮอล์ 50-100 mg% จะตัดสินใจช้าลงไป 1 วินาที เท่ากับเพิ่ม “ระยะเบรก” ขณะความเร็วรถ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพิ่มขึ้นมาถึง 27.7 เมตร มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นถึง 8 เท่า เพราะการตัดสินใจที่ช้าลง สายตาพร่ามัว ทัศนวิสัยในการมองเห็น โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนลดลง 
นอกจากนี้ สาระสำคัญของกฎหมายได้บังคับใช้อย่างเข้มข้น ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 คือ 
1. หากเกิดอุบัติเหตุแล้วผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ทางลมหายใจให้สันนิษฐานว่าเมาสุรา 
2. ในกรณีที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต ญาติมีสิทธิร้องขอให้พนักงานสอบสวนส่งตรวจเลือดผู้ขับขี่ทั้งสองฝ่าย
3. ให้สถานพยาบาลของรัฐ ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดทุกราย ภายใน 4 ชั่วโมง (หากเกิน 
6 ชั่วโมง ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดจะลดลงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์)
4. กรณีมีค่าแอลกอฮอล์ เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โทษคือ ดื่มแล้วขับ จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับขั้นต่ำ 10,000 -20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือ เพิกถอนใบอนุญาต 2.กรณีผู้ขับขี่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือใช้ใบขับชี่ชั่วคราว หากตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา 3. ถ้าไปชนคนอื่นบาดเจ็บ จำคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000 -100,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ และ 4. ถ้าไปชนคนอื่นอันตรายสาหัส จำคุก 2-6 ปี ปรับ 40,000-120,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ 5. ถ้าไปชนคนอื่นถึงแก่ความตาย จำคุก 3-10 ปี ปรับ 60,000-200,000 บาท และเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

0
0
0
s2smodern
เขียนโดย Super User

      (วันที่ 26 ธ.ค.61) นายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ)พร้อมทีมเยาวชน เข้าพบคุณปกรณ์ รัตนทรัพย์ศิริ บรรณาธิการบริหารฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ MONO29 เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ชวนร่วมผลักดันมาตรการป้องกันและเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 เน้นกระตุ้นเตือนขับช้า Low Speed มีสิทธิ์รอด- ดื่มไม่ขับ-ง่วงไม่ขับ 
ทั้งนี้ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลต่อการตัดสินใจขณะขับรถ เฉพาะเวลาตัดสินใจคนปกติอยู่ที่ 2-2.5 วินาที สำหรับตัดสินใจเมื่อเห็นคนข้ามถนนไปจนถึงเท้าแตะเบรก แต่คนที่ดื่มจนมีแอลกอฮอล์ 50-100 mg% จะตัดสินใจช้าลงไป 1 วินาที เท่ากับเพิ่ม “ระยะเบรก” ขณะความเร็วรถ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพิ่มขึ้นมาถึง 27.7 เมตร มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นถึง 8 เท่า เพราะการตัดสินใจที่ช้าลง สายตาพร่ามัว ทัศนวิสัยในการมองเห็น โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนลดลง 
นอกจากนี้ สาระสำคัญของกฎหมายได้บังคับใช้อย่างเข้มข้น ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 คือ 
1. หากเกิดอุบัติเหตุแล้วผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ทางลมหายใจให้สันนิษฐานว่าเมาสุรา 
2. ในกรณีที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต ญาติมีสิทธิร้องขอให้พนักงานสอบสวนส่งตรวจเลือดผู้ขับขี่ทั้งสองฝ่าย
3. ให้สถานพยาบาลของรัฐ ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดทุกราย ภายใน 4 ชั่วโมง (หากเกิน 
6 ชั่วโมง ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดจะลดลงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์)
4. กรณีมีค่าแอลกอฮอล์ เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โทษคือ ดื่มแล้วขับ จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับขั้นต่ำ 10,000 -20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือ เพิกถอนใบอนุญาต 2.กรณีผู้ขับขี่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือใช้ใบขับชี่ชั่วคราว หากตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา 3. ถ้าไปชนคนอื่นบาดเจ็บ จำคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000 -100,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ และ 4. ถ้าไปชนคนอื่นอันตรายสาหัส จำคุก 2-6 ปี ปรับ 40,000-120,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ 5. ถ้าไปชนคนอื่นถึงแก่ความตาย จำคุก 3-10 ปี ปรับ 60,000-200,000 บาท และเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

0
0
0
s2smodern
เขียนโดย Super User

          รวมภาพเปิดศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) (เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 61) สำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ.) นำโดยนายพรหมมินทร์ กัณธิยะ อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ นำทีมเยาวชนรณรงค์ ร่วมพิธีเปิดศูนย์อำนวยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 ห้วข้อ ""ขุบรถมีน้ำใจ รักษาวินัยจราจร" เน้นบังคับใช้กฎหมายเคร่งครัด หนุนจัดตั้งจุดตรวจ/ด่านชุมชน เฝ้าระวังจุดเสี่ยงอุบัติเหตุและอำนวยความสะดวกในการเดินทาง เพิ่มความเข้มข้นมาตรการพิเศษ ในพื้นที่เสี่ยงอุบัติเหตุสูง กวดขันวินัยจราจรเข้มข้น คุมเข้มขับรถเร็ว ดื่มแล้วขับ และไม่ใช้อุปกรณ์นิรภัย เพื่อลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนให้เหลือน้อยที่สุด และสร้างการสัญจรปลอดภัยในช่วงเทศกาลปีใหม่ โดยมี พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน ณ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

0
0
0
s2smodern
เขียนโดย Super User

     (วันที่ 26 ธ.ค.61) นายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ)พร้อมทีมเยาวชน เข้าพบสมาคมสื่อช่อสะอาด ณ สถานีวิทยุปากเกร็ด 93.75 Mhz เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ชวนร่วมผลักดันมาตรการป้องกันและเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 เน้นกระตุ้นเตือนขับช้า Low Speed มีสิทธิ์รอด- ดื่มไม่ขับ-ง่วงไม่ขับ 
ทั้งนี้ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลต่อการตัดสินใจขณะขับรถ เฉพาะเวลาตัดสินใจคนปกติอยู่ที่ 2-2.5 วินาที สำหรับตัดสินใจเมื่อเห็นคนข้ามถนนไปจนถึงเท้าแตะเบรก แต่คนที่ดื่มจนมีแอลกอฮอล์ 50-100 mg% จะตัดสินใจช้าลงไป 1 วินาที เท่ากับเพิ่ม “ระยะเบรก” ขณะความเร็วรถ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพิ่มขึ้นมาถึง 27.7 เมตร มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นถึง 8 เท่า เพราะการตัดสินใจที่ช้าลง สายตาพร่ามัว ทัศนวิสัยในการมองเห็น โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนลดลง 
นอกจากนี้ สาระสำคัญของกฎหมายได้บังคับใช้อย่างเข้มข้น ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 คือ 
1. หากเกิดอุบัติเหตุแล้วผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ทางลมหายใจให้สันนิษฐานว่าเมาสุรา 
2. ในกรณีที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต ญาติมีสิทธิร้องขอให้พนักงานสอบสวนส่งตรวจเลือดผู้ขับขี่ทั้งสองฝ่าย
3. ให้สถานพยาบาลของรัฐ ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดทุกราย ภายใน 4 ชั่วโมง (หากเกิน 
6 ชั่วโมง ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดจะลดลงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์)
4. กรณีมีค่าแอลกอฮอล์ เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โทษคือ ดื่มแล้วขับ จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับขั้นต่ำ 10,000 -20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือ เพิกถอนใบอนุญาต 2.กรณีผู้ขับขี่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือใช้ใบขับชี่ชั่วคราว หากตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา 3. ถ้าไปชนคนอื่นบาดเจ็บ จำคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000 -100,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ และ 4. ถ้าไปชนคนอื่นอันตรายสาหัส จำคุก 2-6 ปี ปรับ 40,000-120,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ 5. ถ้าไปชนคนอื่นถึงแก่ความตาย จำคุก 3-10 ปี ปรับ 60,000-200,000 บาท และเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

0
0
0
s2smodern
เขียนโดย Super User

      ร่วมเปิดงานปีใหม่ปลอดภัย เมาไม่ขับ ( เมื่อ27ธ.ค. 61 ) ที่สถานีขนส่งกรุงเทพฯ (หมอชิต) - นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รมว.คมนาคม เป็นประธานเปิดงานปีใหม่ปลอดภัย เมาไม่ขับ จัดโดยมูลนิธิเมาไม่ขับ ร่วมกับบริษัทขนส่ง จำกัด (บขส.) และภาคีเครือข่ายรณรงค์ลดอุบัติ เหตุเมาไม่ขับ โดยนายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ.) ได้ร่วมเปิดงานพร้อมกับเครือข่ายรณรงค์ลดอุบัติเหตุในเทศกาลปีใหม่ ทั้งนี้ ผอ.สคอ. ได้มอบกระเช้าสื่อรณรงค์ลดความเร็ว  “ Low Speed มีสิทธิ์รอด กลับบ้านปลอดภัย” แก่ประธานในพิธี จากนั้นนำทีมรณรงค์พร้อมมาสคอต เดินแจกสติ๊กเกอร์ เข็มกลัดให้กับประชาชน ที่ใช้รอกลับบ้านช่วงปีใหม่ 2562

0
0
0
s2smodern